ลูเธอร์ เบอร์แบงก์





บุรุษผู้เนรมิตพันธุ์พืชกว่า 800 ชนิด
เจ้าของทฤษฎีวิวัฒนาการธรรมชาติข้ามสายพันธ์
ลูเธอร์ เบอร์แบงก์ เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1849 ที่เมืองแลงเคสเตอร์ รัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา บิดามีเชื้อสายสกอต-อังกฤษ ส่วนมารดามีเชื้อสายฝรั่งเสศ-ดัตช์ เขาเป็นบุตรคนที่ 13 ในบรรดาพี่น้องทั้งสิ้น 15 คน
ชีวิตของเบอร์แบงก์คลุกคลีอยู่กับการเกษตรตั้งแต่วัยเด็ก เพราะนั่นคืออาชีพหลักของครอบครัว ก่อนที่เขาจะเข้าศีกษาต่อในมหาวิทยาลัยทางด้านการแพทย์ หลังบิดาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1868 เบอร์แบงก์ต้องลาออกมาเพื่อช่วยมารดาขยายพันธุ์ไม้ ระหว่างนั้นเขายังคงศึกษาหาความรู้จากตำราต่าง ๆ ไปด้วย โดยเฉพาะหนังสือของศาตราจารย์ดาร์วิน (Charles Robert Darwin) ที่เข้าต้องติดตามอ่านทุกเล่ม เพราะคิดอยู่เสมอว่าสักวันสิ่งที่เขาอ่านจะต้องเป็นประโยชน์ในอนาคต
เล่มที่เขาโปรดปรานมากที่สุดในบรรดาตำราทั้งหมดก็คือเรื่อง "สัตว์และพืชต่าง ๆ ในครอบครัว" ซึ่งหนังสือเล่มนี้มีส่วนทำให้เขามีความรู้เจนจัดในเวลาต่อมา
วันหนึ่งขณะทำงานกับมารดา เบอร์แบงก์ พบว่าเมล็ดมันฝรั่งกระจุกหนึ่งในสวนของมารดาดูผิดสังเกต เขาจึงนำไปทดลองเพาะชำแล้วบังเอิญมีต้นมันฝรั่งเกิดขึ้นมา 23 ชนิด มันฝรั่งชนิดหนึ่งในจำนวนนั้น ซึ่งภายหลังตั้งชื่อว่า พันธุ์เบอร์แบงก์ ได้กลายเป็นต้นตระกูลของมันฝรั่งสายพันธุ์ดี
ฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยสตราสบวร์กอีกคร้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ. 2419 และในปี พ.ศ. 2422 เรินต์เกนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยไกส์เซน พ.ศ. 2431 ย้ายไปรับตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยเวิร์ซเบิร์ก และอีกครั้งที่มหาวิทยาลัยมิวนิกในปี พ.ศ. 2443 โดยคำขอของรัฐบาลบาวาเรีย
เรินต์เกนมีครอบครัวอยู่ในประทศสหรัฐฯ ที่รัฐโอไฮโอ ครั้งหนึ่งเขาเคยคิดที่จะย้ายไปตั้งรกรากที่นั่น เรินต์เกนได้ยอมรับการแต่งตั้งที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในนิวยอร์ก และได้ซื้อตั๋วเรือไว้แล้ว แต่การระเบิดของสงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้แผนการนี้เปลี่ยนไป เรินต์เกนตกลงอยู่ในมิวนิกต่อไปและได้ทำงานที่นี้ไปตลอดชีวิต เรินต์เกนถึงแก่กรรมเมื่อปี พ.ศ. 2456 จากโรคมะเร็งเยื่อบุช่องท้อง มีการพูดกันว่าเรินต์เกนเสียชีวิตจากการได้รับรังสีเอกซ์เรย์ แต่ส่วนใหญ่ไม่เชื่อว่าการเกิดโรคมะเร็งนี้เป็นผลมาจากการรับรังสีเอกซ์เรย์ ทั้งนี้เนื่องจากการค้นคว้าวิจัยในส่วนที่เรินต์เกนต้องเกี่ยวข้องกับรังสีโดยตรงและมากมีช่วงเวลาสั้น และเรินต์เกนเอง ยังเป็นนักวิทยาศาสตร์คนแรกๆ ที่เป็นผู้นำในการใช้ตะกั่วเป็นโล่ป้องกันอย่างสม่ำเสมอ